ข้ามไปเนื้อหา

ไฟล์:เรื่องพระเจ้าปทุมสุริวงศ - ๒๔๗๔.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (1,239 × 1,968 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 24.13 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 26 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

s:th:เรื่องพระเจ้าปทุมสุริวงศ สร้างพระนครวัด นครธม  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
Unknown authorUnknown author
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Story of King Pathum Suriwong and Creation of Nakhon Wat and Nakhon Thom
ไทย: เรื่องพระเจ้าปทุมสุริวงศ สร้างพระนครวัด นครธม Rueang phrachao pathum suriwong sang phra nakhon wat nakhon thom
รุ่น 2nd
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q689721
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q97382960
คำอธิบาย
English: Rueang phrachao pathum suriwong sang phra nakhon wat nakhon thom ("Story of King Pathum Suriwong and Creation of Nakhon Wat and Nakhon Thom"), or simply Rueang phrachao pathum suriwong ("Story of King Pathum Suriwong"), is believed to be a translation of a Khmer document, but it is not known what the original Khmer document is or when the translation was carried out. A comparative study shows that the contents of Rueang phrachao pathum suriwong are compatible with the Khmer royal chronicle revised in the reign of King Norodom of Cambodia, and the translation might have been done in the reign of King Mongkut of Siam because it was the time that the Siamese government was keenly interested in Angkorian historical sites (probably in attempt to assert sovereignty over Cambodia). Rueang phrachao pathum suriwong was first printed in 2417 BE (1871/72 CE) as part of the book Phraratchaphongsawadan yo ("Abridged royal chronicles"), and the present file is the second edition that was printed for distribution at the funeral of Mom Chon Kitiyakon Na Ayutthaya on 13 March 2474 BE (1932 CE).
Reference: Prachum phongsawadan chabap kanchanaphisek lem sipsong [Golden Jubilee Collection of Historical Archives, Volume 12]. (2006). Bangkok: Fine Arts Department, Literature and History Office. ISBN 9749528476. (In Thai). pp. 7–9.
ไทย: เรื่องพระเจ้าปทุมสุริวงศ สร้างพระนครวัด นครธม เชื่อว่า แปลจากเอกสารภาษาเขมร แต่ไม่แน่ชัดว่า เป็นเอกสารใด หรือแปลเมื่อใด การศึกษาเปรียบเทียบพบว่า เนื้อหาสอดคล้องกับพระราชพงศาวดารกัมพูชาที่ชำระในรัชกาลสมเด็จพระนโรดมบรมรามเทวาวตาร และสันนิษฐานว่า แปลในรัชกาลที่ ๔ เพราะเป็นช่วงที่ราชสำนักไทยสนใจโบราณสถานในเมืองพระนครของกัมพูชา ซึ่งอาจเป็นการอ้างสิทธิ์อย่างหนึ่งเหนือแผ่นดินกัมพูชา หนังสือนี้พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗ รวมอยู่ในหนังสือ พระราชพงศาวดารย่อ และไฟล์นี้เป็นพิมพ์ครั้งที่ ๒ สำหรับงานปลงศพหม่อมจอน กิติยากร ณ อยุธยา วันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔
อ้างอิง: ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๑๒. (๒๕๔๙). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9749528476. หน้า ๗–๙.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2474 หรือ 2475
publication_date QS:P577,+1932-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: เรื่องพระเจ้าปทุมสุริวงศ สร้างพระนครวัด นครธม. (๒๔๗๔). (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. (หม่อมเจ้าหญิงพัฒนคณนา ไชยันต์ ทรงพิมพ์แจกในงานปลงศพหม่อมจอน กิติยากร ณอยุธยา ผู้เปนมารดา เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน00:32, 30 พฤษภาคม 2563รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 00:32, 30 พฤษภาคม 25631,239 × 1,968, 26 หน้า (24.13 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{unknown author}} from {{en|1=''Rueang phrachao pathum suriwong sang phra nakhon wat nakhon thom'' [On King Pathum Suriwong; Creation of Angkor Wat and Angkor Thom]. (1932). (2nd ed.). Bangkok: Sophon Phiphat Thanakon Printing House. [Printed by order of ''Mom Chao Ying'' Phatkhanana Chaiyan for distribution at the funeral of her mother, ''Mom'' Chon Kitiyakon Na Ayutthaya, on 13 March 2474 {{w|Buddhist Era|BE}} (1932 {{...

27 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์

OSZAR »