ข้ามไปเนื้อหา

ไฟล์:นิราศหนองคาย - ทิม สุขยางค์ - ๒๔๙๘.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (3,802 × 5,360 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 50.02 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 146 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Nirat Nong Khai

ไทย: นิราศหนองคาย

 s:th:นิราศหนองคาย  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
English: Luang Phatthanaphongphakdi (Thim Suk-yang; born 2390 BE [1847/48 CE]; died 2458 BE [1915/16 CE])
ไทย: หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์; เกิด พ.ศ. ๒๓๙๐; ตาย พ.ศ. ๒๔๕๘)
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Nirat Nong Khai
ไทย: นิราศหนองคาย
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
n.p.
คำอธิบาย
English:
  1. The preface of the book, written by the Fine Arts Department of Thailand, states: The present book contains a poem, called Nirat Nong Khai, composed by a Siamese nobleman, Luang Phatthanaphongphakdi (Thim Suk-yang), narrating the warfare between the Siamese government and the Ho Chinese in Nong Khai in the year 2418 BE (1875/76 CE). First published in 2421 BE (1878/79 CE), the poem satirically criticises the then chancellor, Somdet Chaophraya Borom Maha Si Suriwong (Chuang Bunnak), who later brought a defamatory case against the composer. The composer was sentenced to imprisonment by a court, which also ordered all the copies of the poem to be confiscated and destroyed. But the original manuscript has survived and is now kept at the National Library of Thailand. The poem printed in this book is a version censored by the Department, as all the defamatory parts have been removed by the Department.
  2. An uncensored version has just been published by the Department in 2016, as follows:
    Phatthanaphongphakdi (Thim Suk-yang), Luang. (2016). Nirat Nong Khai. Bangkok: Krom Sinlapakon [Fine Arts Department], Samnak Wannakam Lae Prawattisat [Bureau of Literature and History]. ISBN 9786162832567. (In Thai).
ไทย:
(๑) คำนำของกรมศิลปากรต้นหนังสือนี้ระบุว่า นิราศหนองคาย หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) แต่ง ว่าด้วยการทัพปราบฮ่อที่เมืองหนองคายใน พ.ศ. ๒๔๑๘ พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๒๑ เนื้อหาเสียดสีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จนเกิดเป็นคดี ศาลพิพากษาให้จำคุกผู้แต่งและริบนิราศมาเผาทำลายเสียสิ้น เหลือมีฉบับสมุดไทยเหลือรอด และหอสมุดแห่งชาติได้มา กรมศิลปากรนำมาพิมพ์เป็นหนังสือเล่มนี้ แต่ตัดเนื้อหาที่เป็นหมิ่นประมาทออก เพราะฉะนั้น หนังสือนี้จึงเป็นเนื้อหาที่ผ่านการเซ็นเซอร์แล้ว
(๒) ฉบับที่ไม่เซ็นเซอร์ เพิ่งนำออกพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๙ ดังนี้
พัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์), หลวง. (๒๕๕๙). นิราศหนองคาย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9786162832567.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 20 มีนาคม พ.ศ. 2498
publication_date QS:P577,+1955-03-20T00:00:00Z/11
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: พัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์), หลวง. (๒๔๙๘). นิราศหนองคาย. พระนคร: ม.ป.ท. [พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รองอำมาตย์โท ขุนสันทัดวุฒิวิถี (สวน สันทัดวุฒิ) อดีตนายช่างหัวหนัากอง กองการโยธา เทศบาลนครกรุงเทพ ณ ฌาปนสถาน "สันทัดวุฒิ" วัดมหาพฤฒาราม วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘].

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน23:10, 21 เมษายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 23:10, 21 เมษายน 25643,802 × 5,360, 146 หน้า (50.02 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{en|1=Luang Phatthanaphongphakdi (Thim Suk-yang; born 2390 BE [1847/48 CE]; died 2458 BE [1915/16 CE])}} {{th|1=หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์; เกิด พ.ศ. ๒๓๙๐; ตาย พ.ศ. ๒๔๕๘)}} from {{th|1=พัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์), หลวง. (๒๔๙๘). ''นิราศหนองคาย''. พระนคร: ม.ป.ท. [พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รองอำมาตย์โท ขุนสันทัดวุฒิวิถี (สวน สันทัดวุฒิ) อดีตนายช่างหัวหนัากอง กองการโยธา เทศบาลนครกรุงเทพ ณ ฌาปนสถาน "สันทัดวุฒิ" วัดมหาพฤฒาราม วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘].}} with UploadWizard

ข้อมูลอภิพันธุ์

OSZAR »