ข้ามไปเนื้อหา

ไฟล์:ประชุมพงศาวดาร (ภาค ๕๓) - ๒๔๗๖.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (777 × 1,210 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 4.67 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 138 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Collection of Historical Archives

ไทย: ประชุมพงศาวดาร

 s:th:ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 53 (2476)  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q689721
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Collection of Historical Archives
ไทย: ประชุมพงศาวดาร
เล่มที่ 53
รุ่น 2nd
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q689721
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q97382960
คำอธิบาย
English: This volume consists of the following works:
  1. Phongsawadan Mueang Songkhla ("Chronicle of Songkhla Town"), written by Phraya Wichiankhiri (Bunsang, or Bunsang Na Songkhla), having two parts, the first written in the Year of the Rabbit, 1207 LE (2388 BE, 1845/46 CE), the second written in the Year of the Monkey, 1221 LE (2402 BE, 1859/60 CE);
  2. Phongsawadan Mueang Nakhon Si Thammarat ("Chronicle of Nakhon Si Thammarat Town"), written by Luang Anusonsitthikam (Bua Na Nakhon), date of creation unknown;
  3. Chotmai Bok Khao Thueng Chaophraya Nakhon ("Letter Notifying Chaophraya Nakhon of News"), believed to have been written by Chaophraya Mahasiritham (Mueang or Noiyai), son of Chaophraya Nakhon Si Thammarat (Noi), date of creation unknown;
  4. Phongsawadan Mueang Phatthalung ("Chronicle of Phatthalung Town"), written by Muen Sanitphirom, secretary to Prince Kraisorawichit (or Kraison Wichit), written in the Year of the Dog, 1212 LE (2393 BE, 1850/51 CE).
Note: "LE" refers to Lesser Era; "BE", Buddhist Era; and "CE", Common Era.
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
๑. พงศาวดารเมืองสงขลา ของ พระยาวิเชียรคีรี (บุญสังข์, บ้างเขียน บุญสัง, บ้างว่า บุญสัง ณ สงขลา) มีเนื้อหา ๒ ตอน ตอน ๑ เขียนเมื่อปีเถาะ จ.ศ. ๑๒๐๗ (พ.ศ. ๒๓๘๘) ตอน ๒ เขียนเมื่อปีวอก จ.ศ. ๑๒๒๑ (พ.ศ. ๒๔๐๒)
๒. พงศาวดารเมืองนครศรีธรรมราช ของ หลวงอนุสรณ์สิทธิกรรม (บัว ณ นคร) ไม่ทราบวันเวลาที่แต่ง
๓. จดหมายบอกข่าวถึงเจ้าพระยานครฯ สันนิษฐานว่า ผู้เขียน คือ เจ้าพระยามหาศิริธรรม (เมือง หรือ น้อยใหญ่) บุตรของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ไม่ทราบวันเวลาที่แต่ง
๔. พงศาวดารเมืองพัทลุง ของ หมื่นสนิทภิรมย์ ปลัดกรมในกรมหมื่นไกรสรวิชิต เขียนเมื่อปีจอ จ.ศ. ๑๒๑๒ (พ.ศ. ๒๓๙๓)
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2475 หรือ 2476
publication_date QS:P577,+1933-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: ราชบัณฑิตยสภา (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๖). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๕๓. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. [พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะศิริ) พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพพระพิทักษ์สาครเกษตร (หยวก ลีละบุตร) วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๖].
เวอร์ชันอื่น
1st ed. (1930)

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

รายการที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน13:55, 7 สิงหาคม 2563รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 13:55, 7 สิงหาคม 2563777 × 1,210, 138 หน้า (4.67 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{unknown author}} from {{en|1=''Prachum phongsawadan phak thi hasip sam'' [Collection of historical archives, volume 53]. (1933). (2nd ed.). Bangkok: Sophon Phiphat Thanakon Printing House. [Printed by order by Phra Sophon Akson Kit (Lek Samitasiri) for distribution at the royally sponsored funeral of Phra Phithak Sakhon Kaset (Yuak Lilabut) on 18 May 2476 BE (1933 CE)]. (In Thai).}} {{th|1=''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๕๓''. (๒๔๗๖). (พิมพ์ครั้งที่ ๒). พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒ...

มีหน้าที่ใช้ไฟล์นี้มากกว่า 100 หน้า รายการต่อไปนี้แสดงหน้าที่ใช้ไฟล์นี้ 100 หน้าแรกเท่านั้น มีรายการเต็ม

ดูการเชื่อมโยงมายังไฟล์นี้เพิ่มเติม

ข้อมูลอภิพันธุ์

OSZAR »