ข้ามไปเนื้อหา

ไฟล์:ประชุมพงศาวดาร (ภาค ๗๐) - ๒๔๘๔.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (2,310 × 3,579 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 55.63 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 269 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Collection of Historical Archives

ไทย: ประชุมพงศาวดาร

 s:th:ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 70  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Collection of Historical Archives
ไทย: ประชุมพงศาวดาร
เล่มที่ 70
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q104533467
คำอธิบาย
English: This volume contains:
  1. A preface by the Fine Arts Department, dated 18 March 2484 BE (1941 CE).
  2. Tamnan Mueang Nakhon Champasak ("History of the Town of Nakhon Champasak"), a historical account of the town of Champasak in Laos; composed in the reign of King Chulalongkorn (1868–1910 CE) of Siam by a Siamese nobleman holding the noble title of "Phraya Maha-ammattayathipbodi" (perhaps Seng Wirayasiri).
  3. Tamnan Mueang Nakhon Champasak ("History of the Town of Nakhon Champasak"), a historical account of the town of Champasak in Laos; composed by a Siamese royal person, Mom Amonwongwichit (aka Momratchawong Pathom Khanechon); previously printed as part of the book Thesaphiban ("Local Government").
  4. Tamnan Mueang Nakhon Champasak ("History of the Town of Nakhon Champasak"), a historical account of the town of Champasak in Laos; composed by Phra Sisunthonwohan (perhaps Noi Acharayangkun), chief of the Scribal Department of Siam, Chao Phrommathewanukhrowong, ruler of Ubon Ratchathani, and a Lao prince of Champsask who held the royal titled of "Chao Ratchawong" and was imprisoned in Bangkok; composed in the year 1223 BE (2404 BE, 1861/62 CE) at the behest of King Chulalongkorn of Siam.
  5. Nithan Rueang Khun Borom Racha ("Tale Regarding Khun Borom Racha"), an account about the legendary ruler Khun Borom, being a transcription of a Lao manuscript. The transcription was done by Sut Sisomwong, an official at the National Library of Thailand, though the author and the date of creation of the (original) work are not known.
  6. Phongsawadan Mueang Yasothon ("Chronicle of the Town of Yasothon"), a historical account of the town of Yasothon, whose author and date of creation are not known.
  7. Tamnan Mueang Sai Fong ("History of the Town of Sai Fong"), a historical account of the present-day town of Hadxayfong in Laos, being a transcription of a Lao manuscript. The person making the transcript, the author of the original work, and the date of creation of the original work are not known.
  8. Two versions of Tamnan Mueang Phuan ("History of the Town of Phuan"), historical accounts of the present-day town of Muang Phuan in Laos. The author and the date of creation of either version are not known.
  9. Phongsawadan Yo Mueang Wiang Chan ("Abridged Chronicle of the Town of Wiang Chan"), a historical account of the city of Vientiane in Laos, whose author and date of creation are not known.
  10. Rueang Sang Wat Phra Kaeo Si Chiang Mai ("Regarding the Establishment of the Temple of the Crystal Buddha of Si Chiang Mai"), a record about the creation of Wat Phra Kaeo, a ruined monastery in present-day Si Chiang Mai District, Nong Khai Province, Thailand, whose author and date of creation are not known.
  11. Prawat Thao Suwo Chao Mueang Nong Khai ("Biography of Thao Suwo, Ruler of Nong Khai Town"), a biographical account of Phra Pathumthewaphiban (Bunma Na Nong Khai), aka Thao Suwo, the first ruler of Nong Khai; author and date of creation unknown.
  12. Khamhaikan Rueang Mueang Chiang Taeng ("Reply Regarding the Town of Chiang Taeng"), being a record of the reply given by Phraya Mueang Ham, ruler of the town of Chiang Taeng (present-day Stung Treng Province in Cambodia), who was interrogated about the town. The interrogation was conducted in the year 1248 LE (2429 BE, 1886/87 CE) by the officers mentioned in the document itself. The original manuscript was provided by the Ministry of Interior, Thailand.
  13. Khamhaikan Rueang Mueang Chiang Taeng ("Reply Regarding the Town of Chiang Taeng"), being a record of the reply given by Phra Kamhaengphonlasak, ruler of the town of Suttanakhon (in Laos?), who was interrogated about the town of Chiang Taeng (present-day Stung Treng Province in Cambodia). The interrogation was conducted in the year 1248 LE (2429 BE, 1886/87 CE) by the officers mentioned in the document itself. The original manuscript was provided by the Ministry of Interior, Thailand.
  14. Khamhaikan Rueang Mueang Attapue ("Reply Regarding the Town of Attapue"), being a record of the reply given by Phra Suwannawongsa (Thao Long), acting vice-ruler of the town of Attapue (present-day Attapeu Province in Laos), who was interrogated about the town. The interrogation was conducted in the year 109 RE (2433 BE, 1890/91 CE) by the officers mentioned in the document itself. The original manuscript was provided by the Ministry of Interior, Thailand.
  15. Khamhaikan Rueang Mueang Saphang Phu Pha ("Reply Regarding the Town of Saphang Phu Pha"), being a record of the reply given by Phra Ratchawitborirak, ruler of the town of Saphang Phu Pha (not sure where it is now, but probably in Laos), and members of the governing board of the same town, who were interrogated about the town. The interrogation was conducted in the year 1248 LE (2429 BE, 1886/87 CE) by the officers mentioned in the document itself. The original manuscript was provided by the Ministry of Interior, Thailand.
  16. Khamhaikan Rueang Mueang Se Lamphao ("Reply Regarding the Town of Se Lamphao"), being a record of the reply given by "Luang Thiam" and others who were interrogated about the town of Se Lamphao (now in Cambodia, known in Lao as Xelamphao and in Khmer as Tonle Repou; also being the name of a river, as it literally translates "River Lamphao" or "Lake Repou"). The interrogation was conducted in the year 1248 LE (2429 BE, 1886/87 CE) by the officers mentioned in the document itself. The original manuscript was provided by the Ministry of Interior, Thailand.
  17. Phongsawadan Mueang Nakhon Phanom Sangkhep ("Brief Chronicle of the Town of Nakhon Phanom"), a historical account of the town of Nakhon Phanom; composed by Phraya Prachantaprathetthani (Ngonkham Phromsakha Na Sakon Nakhon), ruler of Sakhon Nakhon; composed in 1276 LE (2457 BE, 1914/15 CE).
  18. Tamnan Mueang Wang Mon ("History of the Town of Wang Mon"), being a record of the reply given by Thao Lom, acting vice-ruler of the town of Wang Mon (not sure where it is now, but probably in Laos), and others, who were interrogated about this town. The interrogation was conducted in 1251 LE (2432 BE, 1889/90 CE) by a Siamese commissioner holding the noble title of Luang Narongyotha, whose personal name is not known.
  19. Tamnan Mueang Munlapamok ("History of the Town of Munlapamok"), a historical account of the town of Munlapamok (present-day Mounlapamok in Laos); composed by Phra Wongsasuradet, ruler of Munlapamok, together with the holders of the royal titles of uppahat, ratchawong, and ratchabut of the same town; composed in the year 1248 LE (2429 BE, 1886/87 CE).
Note: "LE" refers to Lesser Era; "BE", Buddhist Era; "CE", Common Era; and "RE", Rattanakosin Era (era of the Rattanakosin Kingdom).
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
๑. คำนำ ของ กรมศิลปากร ลงวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
๒. ตำนานเมืองนครจำปาศักดิ์ พระยามหาอำมาตยาธิบดี (เส็ง วิรยศิริ?) แต่งในรัชกาลที่ ๕ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๔๑๑–๒๔๕๓)
๓. ตำนานเมืองนครจำปาศักดิ์ หม่อมอมรวงศ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเณจร) แต่ง พิมพ์มาแล้วในหนังสือ เทศาภิบาล
๔. ตำนานเมืองนครจำปาศักดิ์ พระศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร?) เจ้ากรมพระอาลักษณ์, เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ เจ้าเมืองอุบลราชธานี, กับเจ้าราชวงศ์แห่งนครจำปาศักดิ์ซึ่งถูกขังอยู่ที่กรุงเทพฯ ช่วยกันแต่งใน จ.ศ. ๑๒๒๓ (พ.ศ. ๒๔๐๔) ตามรับสั่งรัชกาลที่ ๕
๕. นิทาน เรื่อง ขุนบรมราชา นายสุด ศรีสมวงศ์ เจ้าหน้าที่หอสมุดแห่งชาติ ถอดจากต้นฉบับใบลานภาษาลาว ต้นฉบับใครแต่งและแต่งเมื่อใดไม่ปรากฏ
๖. พงศาวดารเมืองยโสธร ใครแต่ง แต่งเมื่อไร ไม่ปรากฏ
๗. ตำนานเมืองทรายฟอง ถอดจากต้นฉบับใบลานภาษาลาว ใครถอด ใครแต่ง แต่งเมื่อไร ไม่ปรากฏ
๘. ตำนานเมืองพวน (๒ ฉบับ) ใครแต่ง แต่งเมื่อไร ไม่ปรากฏ
๙. พงศาวดารย่อเมืองเวียงจันทน์ ใครแต่ง แต่งเมื่อไร ไม่ปรากฏ
๑๐. เรื่องสร้างวัดพระแก้วศรีเชียงใหม่ ในอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ใครแต่ง แต่งเมื่อไร ไม่ปรากฏ
๑๑. ประวัติท้าวสุวอ เจ้าเมืองหนองคาย ว่าด้วยพระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย) หรือท้าวสุวอ ใครแต่ง แต่งเมื่อไร ไม่ปรากฏ
๑๒. คำให้การ เรื่อง เมืองเชียงแตง บันทึกคำให้การของพระยาเมืองฮาม เจ้าเมืองเชียงแตง ที่ตอบคำถามเกี่ยวกับเมือง ถามใน จ.ศ. ๑๒๔๘ (พ.ศ. ๒๔๒๙) รายชื่อผู้ถามมีอยู่ในตัวคำให้การเอง ต้นฉบับมาจากกระทรวงมหาดไทย
๑๓. คำให้การ เรื่อง เมืองเชียงแตง บันทึกคำให้การของพระกำแหงพลศักดิ์ เจ้าเมืองสุตนคร ที่ตอบคำถามเกี่ยวกับเมืองเชียงแตง ถามใน จ.ศ. ๑๒๔๘ (พ.ศ. ๒๔๒๙) รายชื่อผู้ถามมีอยู่ในตัวคำให้การเอง ต้นฉบับมาจากกระทรวงมหาดไทย
๑๔. คำให้การ เรื่อง เมืองอัตปือ บันทึกคำให้การของพระสุวรรณวงศา (ท้าวลอง) ว่าที่อุปฮาดเมืองอัตปือ ที่ตอบคำถามเกี่ยวกับเมือง ถามใน ร.ศ. ๑๐๙ (พ.ศ. ๒๔๓๓) รายชื่อผู้ถามมีอยู่ในตัวคำให้การเอง ต้นฉบับมาจากกระทรวงมหาดไทย
๑๕. คำให้การ เรื่อง เมืองสพังภูผา บันทึกคำให้การของพระราชวิตรบริรักษ์ เจ้าเมืองสพังภูผา และกรมการเมือง ที่ตอบคำถามเกี่ยวกับเมือง ถามใน จ.ศ. ๑๒๔๘ (พ.ศ. ๒๔๒๙) รายชื่อผู้ถามมีอยู่ในตัวคำให้การเอง ต้นฉบับมาจากกระทรวงมหาดไทย
๑๖. คำให้การ เรื่อง เมืองเซลำเภา บันทึกคำให้การของ "หลวงเทียม" และคนอื่น ๆ เกี่ยวกับเมืองเซลำเภา ถามใน จ.ศ. ๑๒๔๘ (พ.ศ. ๒๔๒๙) รายชื่อผู้ถามมีอยู่ในตัวคำให้การเอง ต้นฉบับมาจากกระทรวงมหาดไทย
๑๗. พงศาวดารเมืองนครพนม สังเขป พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ พรหมสาขา ณ สกลนคร) แต่งใน จ.ศ. ๑๒๗๖ (พ.ศ. ๒๔๕๗)
๑๘. ตำนานเมืองวังมล บันทึกคำให้การของท้าวลม ว่าที่อุปฮาดเมืองวังมล และคนอื่น ๆ เกี่ยวกับเมือง ถามใน จ.ศ. ๑๒๕๑ (พ.ศ. ๒๔๓๒) ผู้ถาม คือ หลวงณรงค์โยธา (ชื่อตัวไม่ทราบ) ข้าหลวงจากกรุงเทพฯ
๑๙. ตำนานเมืองมูลปาโมข ผู้แต่ง คือ พระวงษาสุรเดช เจ้าเมืองมูลปาโมข พร้อมด้วยอุปฮาด ราชวงศ์ และราชบุตร เมืองมูลปาโมข แต่งใน จ.ศ. ๑๒๔๘ (พ.ศ. ๒๔๒๙)
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก พ.ศ. 2484
publication_date QS:P577,+1941-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๘๔). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๗๐. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. (พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

รายการที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน05:34, 6 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 05:34, 6 มิถุนายน 25642,310 × 3,579, 269 หน้า (55.63 เมกะไบต์)Bitterschokofixing certain pages
01:07, 6 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 01:07, 6 มิถุนายน 25642,310 × 3,579, 269 หน้า (55.63 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๘๔). ''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๗๐''. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. (พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔).}} with UploadWizard

37 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์

OSZAR »